บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
25
ธันวาคม
2564
ปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ภายหลังที่ นายปรีดี พนมยงค์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางนิติศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาหวนกลับมารับราชการในกระทรวงยุติธรรม มีบรรดาศักดิ์ “หลวงประดิษฐ์มนูธรรม” และได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์สอนหนังสือ ณ โรงเรียนกฎหมาย รับผิดชอบสอนวิชากฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล เป็นต้น ทั้งยังเริ่มริสอนวิชากฎหมายปกครอง และวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญใช้ปกครองรัฐ อันถือเป็นวิชาแปลกใหม่สำหรับสังคมไทยยุคนั้น (ถ้าคุณผู้อ่านสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถอ่านต่อที่
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
23
ธันวาคม
2564
หลังจากพระราชทานรัฐธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามฉบับชั่วคราวเมื่อวันที่ 27 มิถุนายนปีเดียวกัน และนั่นจึงทำให้เกิดธรรมเนียมที่เรียกว่า งานฉลองรัฐธรรมนูญ ตามมา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
ธันวาคม
2564
คนไทยจำนวนมากรู้ว่าวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปีเป็นวันรัฐธรรมนูญ เป็นวันหยุดราชการ แต่ก็จบแค่นั้น ต้องเป็นคนอายุตั้งแต่ประมาณ 65 หรือ 70 ปีขึ้นไป ถึงจะเคยมีประสบการณ์ร่วมหรือพอจะจดจำได้ถึงช่วงที่ไทยมีงานฉลองรัฐธรรมนูญสนุกสนานเป็นการใหญ่ จนคำกล่าวเชิงเปรียบเปรยว่างานใหญ่จริงนั้นต้องจัดกัน 3 วัน 3 คืนก็ยังดูจะน้อยเกินไป เพราะมีอยู่ครั้งหนึ่งที่คนไทยเคยฉลองกฎหมายสูงสุดของประเทศกันมาแล้วยาวนานต่อเนื่องถึง 15 วัน 15 คืน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
20
ธันวาคม
2564
หากเราพิจารณาและตระหนักถึงคุณค่าของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดนั้น การวิพากษ์วิจารณ์และการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองถือเป็นเรื่องที่สำคัญ
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
19
ธันวาคม
2564
ช่วงปลายธันวาคม พ.ศ. 2488 ได้มีหนังสือพิมพ์หัวใหม่เกิดขึ้นในวงการสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้ชื่อว่า "หนังสือพิมพ์มติราษฎร์" ประจวบกับเพิ่งผ่านพ้นการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่ 2 มาไม่กี่เดือน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
18
ธันวาคม
2564
ท่าแขกเป็นเมืองเอกของแขวงคำม่วน ตั้งอยู่ริมฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงจังหวัดนครพนมฝั่งไทย ทางกายภาพแขวงคำม่วนใหญ่กว่าเขตปกครองระดับจังหวัดของประเทศไทยเล็กน้อย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2564
ปรีดีได้ชวนให้ตั้งข้อสังเกตและพิจารณาถึงบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีทั้ง “บทถาวร” และ “บทเฉพาะกาล” ว่า ต้องมีหลักในการพิจารณาว่าบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ นั้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
16
ธันวาคม
2564
เมื่อกองทัพญี่ปุ่นยาตราทัพเข้ามาไทยได้ โดยทหารไทยได้รับคำสั่งจากผู้บัญชาการทหารสูงสุดมิให้ทำการต่อต้านแล้ว ฝ่ายญี่ปุ่นก็เริ่มละเมิดข้อตกลง ข้อ 2. ที่ว่า “ญี่ปุ่นขอเพียงส่งกองทัพผ่านประเทศไทยเท่านั้น โดยจะพักอยู่ที่กรุงเทพฯ” คือ ฝ่ายกองทัพญี่ปุ่นได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ และควบคุมจุดยุทธศาสตร์ไว้หลายแห่ง และวางยามล้อมรอบสถานทูตอังกฤษ อเมริกัน เนเธอร์แลนด์ และได้จัดตั้งองค์การตำรวจปราบปรามที่นาซีเยอรมันเรียกว่า “แกสตาโป” ญี่ปุนเรียกว่า “แกมเปอิ” ตามล่าตัวเสรีจีนที่เป็นหน่วยสาขาของจีนซึ่งโฆษณาทิ้งใบปลิวโจมตีญี่ปุ่นตลอดมาก่อนญี่ปุ่นเข้าเมืองไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
ธันวาคม
2564
“รัฐสวัสดิการ” หรือ “สวัสดิการสังคม” นั้น เป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงเป็นจำนวนมาก และเป็นโจทย์สำคัญของประเทศไทยท่ามกลางการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่ได้สะท้อนปัญหาการเข้าถึงสวัสดิการต่างๆ ทั้งการเข้าถึงสวัสดิการในการรักษาพยาบาล การว่างงาน เบี้ยยังชีพของคนชรา และการศึกษา และทำให้เกิดการตั้งคำถามถึง ระบบสวัสดิการของประเทศไทยนั้นมีอยู่อย่างไร และรัฐได้รับรองสิทธิในสวัสดิการไทยเอาไว้อย่างไร
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
Subscribe to บทความ
12
ธันวาคม
2564
“การประกวดการแต่งเรือในคลองหลอด” ระบุวันประกวดตรงกับวันอังคารที่ 9 และวันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2484 แต่ถ้ามีเรือส่งเข้าร่วมประกวดจำนวนมากก็จะขยายวันเพิ่มเติมอีก 1 วันคือ 11 ธันวาคม จะเริ่มประกวดตั้งแต่เวลา 14.00 น.