ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กันยายน
2564
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของฝรั่งเศสเผชิญหน้ากับวิกฤตครั้งสำคัญในรัชสมัยของหลุยส์ที่ 16 ก่อนจะปิดฉากลงด้วยการปฏิวัติฝรั่งเศสในช่วงฤดูร้อนปี 1789
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2564
พวกเรากับปาล พนมยงค์ รู้จักกันครั้งแรกในรั้วโดมธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2489 ในฐานะนักเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองรุ่นเดียวกัน
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2564
‘คุณปาล พนมยงค์’ เป็นบุตร ฯพณฯ รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ปี พ.ศ. 2500 คุณปาล พนมยงค์ ได้มาอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ โดยท่านผู้หญิงพูนศุขผู้เป็นมารดาได้นำไปมอบฝากถูกต้องตามระเบียบและพระธรรมวินัยทุกประการ ข้าพเจ้าเป็นพระอุปัชฌายะ ครั้นอุปสมบทแล้วพระภิกษุปาลก็ได้พักศึกษาปฏิบัติพระพุทธศาสนาอยู่ ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ จนกระทั่งลาสิกขา
แนวคิด-ปรัชญา
8
กันยายน
2564
ในแง่นี้จะว่าไทยรับความสำเร็จจากการเรียนรู้ในเมืองฝรั่งก็คงได้ แต่พอสถานประมาณโดยเราเข้าใจฝรั่งอย่างแตกฉานหรือไม่ น่าสงสัย
บทบาท-ผลงาน
7
กันยายน
2564
องค์กรสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” (Southeast Asian League) คือหนึ่งในไอเดีย ที่ปรากฏตัวขึ้นมาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีสาระสำคัญคือการรวมตัวของประเทศในกลุ่มประเทศเอเชียวันตะวันออกเฉียงใต้
แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2564
ทุกข์ของชาวนานั้นเป็นสิ่งที่ประจักษ์ชัดในสังคมไทย และเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กันยายน
2564
คดีคนหายที่สามารถนำขึ้นสู่การพิจารณาของศาลยุติธรรมเป็นรายแรกได้นั่นก็คือ การหายตัวไปของทนายสิทธิมนุษยชนที่เป็นกรณีดังไปทั่วโลก 'ทนายสมชาย นีละไพจิตร'
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กันยายน
2564
เหตุการณ์สังหาร ‘4 รัฐมนตรี’ ซึ่งทั้งหมดมีความใกล้ชิดกับปรีดี พนมยงค์ นับเป็นการฆาตกรรมทางการเมืองที่อื้อฉาวที่สุดครั้งหนึ่ง และเป็นครั้งแรกๆ ที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิดของสังคมไทยในเวลาต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
สิงหาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492” สิ้นสุดลง ปฏิบัติการกวาดล้างและจับกุมผู้เห็นต่างทางการเมืองได้เริ่มต้นขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
สิงหาคม
2564
ความตายของ ‘สี่อดีตรัฐมนตรี’ คือ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายจำลอง ดาวเรือง นายถวิล อุดล และ ดร.ทองเปลว ชลภูมิ เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2492 บริเวณกิโลเมตรที่ 14-15 ถนนพหลโยธิน
Subscribe to บทความ