บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
18
เมษายน
2564
แต่ข้อมูลที่ได้รับจากธิดาของนายปรีดีนั้น เขาไม่ได้เลี้ยงเพียงตัวเดียว แต่เคยเลี้ยงหลายตัวทีเดียว และเลี้ยงไว้ถึง 2 รุ่น 2 ยุค ดังนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
17
เมษายน
2564
"มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" ได้ถูกสถาปนาขึ้นเมื่อวันพุธที่ 27 มิถุนายน พุทธศักราช 2477 สถานที่แห่งนี้ ถือเป็นอีกหนึ่งมรดกคณะราษฎรที่สร้างขึ้นโดยยึดหลัก 6 ประการข้อสุดท้ายที่ว่า "จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
เมษายน
2564
หลักการการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎรนั้น ปรีดีได้นำเสนอเอาไว้ใน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" โดยการจะดำเนินการให้มีประกันเช่นว่าได้นั้น รัฐบาลจะต้องเป็นผู้ดำเนินการเอง เพราะด้วยลักษณะของประกันเช่นนี้ ไม่มีเอกชนคนใดจะทำได้ หรือถ้าเอกชนคนใดจะทำได้ ก็จะต้องดำเนินการโดยมีค่าใช้จ่ายเบี้ยประกันที่แพงมากเกินกว่าราษฎรทุกคนจะได้รับประกันในลักษณะดังกล่าวได้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
เมษายน
2564
ถึงแม้วันนี้ “หมุดคณะราษฎร 2475” และ “หมุดคณะราษฎร 2563” ได้ถูกทำให้สาบสูญไปแล้วก็ตาม แต่นั่นก็หาใช่ว่าจะสามารถพังทลายอุดมการณ์ของผู้ที่มีใจรักประชาธิปไตยลงไปได้ เพราะหมุดหมายเป็นเพียงสัญลักษณ์ เป็นเพียงวัตถุที่ใครก็ตามสามารถทำให้เคลื่อนที่ได้ตามแต่ใจปรารถนา ถ้าหมุดหมายที่หายไปจะหมายถึงอุดมการณ์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
12
เมษายน
2564
บ่ายวันพุธ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๖ ณ ท่าเรือ บี.ไอ. ถึงแม้เป็นคิมหันตฤดูอันร้อนผ่าว กระนั้นฝูงชนนับพันยังคงมารอส่ง “ดร.ปรีดี พนมยงค์” มันสมองคณะราษฎรในวัย ๓๓ ปี ผู้จำต้องนิราศออกนอกประเทศหลังเหตุการณ์นายกรัฐมนตรีที่เจ้าตัวเลือกเฟ้นมากับมือชิงรัฐประหารปิดสภาเมื่อวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๖ จากเหตุปัจจัยการนำเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจสู่สภาที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
เมษายน
2564
ตามประวัติของรัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์ นั้น นับว่าท่านเป็นตัวอย่างหนึ่งของบุคคลที่ทำงานเพื่อสร้างความเป็นอิสรภาพของสังคมโดยที่ว่าในขณะเดียวกัน ตัวท่านเองก็ได้พยายามรักษาอิสรภาพทางจิตปัญญาของตนเองไว้ หรือ อิสรภาพของบุคคลไว้ด้วย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
เมษายน
2564
"ไม่ค่อยเป็นที่ทราบกันเท่าไหร่นักว่า นายปรีดี พนมยงค์ได้แสดงบทบาทด้านการแพทย์และการสาธารณสุขไว้หลากหลายประการ คงเพราะคนส่วนใหญ่มี ‘ภาพจำ’ ของบุคคลผู้นี้ในฐานะรัฐบุรุษทางการเมืองการปกครองเสียมากกว่า ทั้งๆที่แท้จริงแล้ว นายปรีดีเองเคยอาศัยบทบาทและภาพลักษณ์ความเป็นนักปกครองแห่งกระทรวงมหาดไทยมาเอื้ออำนวยการส่งเสริมให้พลานามัยของราษฎรในประเทศสมบูรณ์แข็งแรงเนื่องจากสามารถเข้าถึงการแพทย์และการสาธารณสุขกันถ้วนหน้า"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
เมษายน
2564
เมื่ออ่านเค้าโครงการเศรษฐกิจครั้งแรก มีความรู้สึกเหมือนกับว่าท่านอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ให้ความสำคัญกับการวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลาง เมื่ออ่านครั้งต่อๆไปก็เริ่มเห็นความสำคัญของส่วนของชาวบ้าน ส่วนของท้องถิ่น ในเค้าโครงการฯ คือในตอนที่ว่าด้วยสหกรณ์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
8
เมษายน
2564
ในปัจจุบันสมัยนี้ ไม่ว่าในงานเอกชนหรืองานมหาชน หากรัฐจะประกอบกิจการอันใด ไม่ว่าเรื่องการศึกษา การป้องกันประเทศ รักษาทรัพยากรของชาติ การผังเมือง การผังชนบท การวางเส้นทางคมนาคม ถนนหนทาง การบุกเบิกป่าไม้งานต่างๆ ที่กรมกองต้องกระทำ รัฐผู้กระทำต้องวางแผน วางจุดหมายที่มุ่งให้บรรลุถึงวิธีการและเครื่องมือเครื่องใช้ดำเนินการเป็นขั้นๆ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to บทความ
7
เมษายน
2564
ความสำคัญของการพิจารณางบประมาณประจำปีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยก็คือ การเปิดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหลายสามารถปรึกษาโดยทั่วๆ ไป โดยอาจตั้งคำถามถึงความจำเป็นและที่มาของการใช้จ่าย รวมถึงการตัดลดรายจ่ายในงบประมาณแผ่นดินนั้นๆ ซึ่งสิ่งนี้ไม่ได้เกิดขึ้นในการจัดทำงบประมาณประจำปีในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์