บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • บทบาท-ผลงาน
26
กุมภาพันธ์
2564
ขบวนการประชาธิปไตย นั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นระบบประชาธิปไตยโดยสมบูรณ์ตามรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 จึงไม่ควรที่ผู้รณรงค์เพื่อความเป็นประชาธิปไตยจะสนับสนุนรัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่มและระบบต่าง ๆ ที่สืบเนื่องจากระบบใต้ตุ่ม โดยใส่ความว่า "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" เป็น "ขบถวังหลวง"
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2564
นายปรีดี พนมยงค์ พร้อมด้วยนายแช่ม พรหมยงค์ นายสงวน ตุลารักษ์ เรือเอกวัชรชัย ชัยสิทธิเวช และ สิบตำรวจโทสิงห์โต ไทรย้อย ได้เดินทางออกจากสิงคโปร์ ในราวปลายเดือนพฤษภาคม 2491 ไปยังฮ่องกง และไปถึงเซี่ยงไฮ้ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2491
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
กุมภาพันธ์
2564
นายปรีดียังรู้สึกเสียใจกับข่าวที่ 4 อดีตรัฐมนตรี และ อดีตส.ส.ภาคอีสาน ซึ่งไม่ได้ร่วมการก่อการขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ก็ถูกตำรวจจับกุมและถูกสังหารอย่างทารุณ ซึ่งตำรวจได้อ้างว่าเป็นฝีมือของ “โจรจีนมลายู” ที่มาชิงตัวผู้ต้องหา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
23
กุมภาพันธ์
2564
พวกปรปักษ์ประชาธิปไตยเรียก “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์” ว่า “ขบถวังหลวง” บางคนก็พลอยเรียกเช่นนั้น โดยไม่พิจารณาตามหลักวิชาการแท้จริงว่า ขบวนการดังกล่าวนั้นเป็นขบถต่อระบบปกครองประชาธิปไตยที่ได้สถาปนาขึ้นโดยถูกต้องสมบูรณ์ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ หรือเป็นขบวนการที่ต่อต้านพวกปฏิกิริยาที่ทําลายระบบประชาธิปไตยซึ่งได้สถาปนาถูกต้องสมบูรณ์ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
กุมภาพันธ์
2564
บ่อยครั้งนโยบายทางเศรษฐกิจในประเทศหนึ่ง ๆ นั้น มิได้มีปัจจัยมาจากภายในของประเทศแต่เพียงอย่างเดียว ทว่า นโยบายนั้นอาจเกิดขึ้นจากการใช้อำนาจจากต่างประเทศเข้ามาเปลี่ยนแปลงนโยบายเศรษฐกิจภายในประเทศ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันจิรา สมบัติพูนศิริ เจ้าของผลงานหนังสือ “หัวร่อต่ออำนาจ : อารมณ์ขัน และการประท้วงด้วยสันติวิธี” ผู้ที่มีความเชื่อว่า “ความคิดสร้างสรรค์จะเป็นอาวุธช่วยผ่าทางตันให้สังคมการเมืองออกจากกับดักทางความคิดที่ว่าเราไม่มีทางเลือกอื่นใดเมื่อเผชิญสถานการณ์ความขัดแย้ง นอกเสียจากการพุ่งรบด้วยกำลัง”
บทความ • บทบาท-ผลงาน
20
กุมภาพันธ์
2564
"ทุ่งเชียงราก" อาณาบริเวณซึ่งปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานีตั้งอยู่ ใครๆ อาจไม่คาดคิดเลยว่า จะเคยเป็นฉากสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทยช่วงต้นทศวรรษ 2490 และยังเกี่ยวโยงกับเรื่องราวขบวนการ 26 กุมภาพันธ์ที่เคลื่อนไหวต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตยของนายปรีดี พนมยงค์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
19
กุมภาพันธ์
2564
“ถ้ารัฐธรรมนูญฉบับใดให้ถือมติปวงชนเป็นใหญ่ และให้สิทธิของมนุษยชนแก่ประชาชน รัฐธรรมนูญฉบับนั้นก็เป็นประชาธิปไตย. ถ้ารัฐธรรมนูญฉบับใดถือตามความเห็นชอบของอภิสิทธิ์ชน และจำกัดสิทธิมนุษยชนที่ประชาชนพึงมีได้ รัฐธรรมนูญนั้นก็ไม่ใช่ประชาธิปไตย”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to บทความ
18
กุมภาพันธ์
2564
“รัฐธรรมนูญไม่ต้องการให้มีไพร่ มีข้า มีทาส แต่ต้องการให้ทุกคนเป็นพลเมือง ...ทุกวันนี้ รัฐธรรมนูญทำให้พลเมืองรู้สึกว่าประเทศเป็นของเขาทั้งหลายทุกคน มิใช่เป็นของบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือคณะใดคณะหนึ่งโดยเฉพาะ”