บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2564
ถ้าเราสามารถหยุดยั้งการนิรโทษกรรมคนที่กระทำผิดสังหาร และสามารถใช้กฎหมายสำหรับผู้กระทำผิดได้ ก็จะเป็นการช่วยไม่ให้เกิดเหตุการณ์ครั้งนี้ซ้ำรอยขึ้นอีก
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2564
หลังจากที่ท่านปรีดีฯ ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๗๖ แล้ว แต่ยังไม่ทันที่จะได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนตามรัฐธรรมนูญ ก็ได้เกิดการขบถขึ้นภายในราชอาณาจักร เมื่อ ๑๑ ตุลาคม ปีเดียวกัน ขบถครั้งนี้มี พลเอกพระองค์เจ้าบวรเดชกฤษดากร เป็นหัวหน้า ใช้ชื่อคณะในการขบถครั้งนี้ว่า “คณะกู้บ้านเมือง” แต่ชาวบ้านเรียกกันทั่วๆ ไปว่า “ขบถบวรเดช”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2564
“กบฏบวรเดช” เป็นเรื่องที่สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่าและระบอบใหม่ จากข้อโต้แย้งในเรื่องเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จากข้อกล่าวหาคอมมิวนิสต์ จากการทำรัฐประหาร 20 มิถุนายน 2476 และที่สำคัญที่สุดคือข้อโต้แย้งในเรื่องพระเกียรติยศและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบใหม่
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
ตุลาคม
2564
เราต้องใช้กฎหมายต่างๆ มาปิดล้อมไม่ให้เขาขยับได้ สุดท้ายประชาชนจะเป็นผู้ตัดสินชะตากรรมของตัวเองได้ในที่สุด
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
ตุลาคม
2564
ในสังคมแบบนี้จะไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย และ ผู้อำนาจรัฐก็ไม่ใช้กฎหมายยัดคดีให้กับผู้เห็นต่างหรือคนที่มีความเห็นหรือเป็นฝ่ายตรงกันข้าม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
ตุลาคม
2564
ภายหลังจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นั้น สังคมไทยเกิดความตื่นตัวเรื่องสิทธิและเสรีภาพมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ตุลาคม
2564
“...หลังจากชัยชนะของขบวนการประเทศลาว ในลาวแล้ว เฉพาะปืน M16 อันเป็นอาวุธเบา ได้ทะลักมาอยู่ชายแดนไทยประมาณ 709,000 กระบอกปืน 709,000 กระบอกนี่แหละค่ะ ที่เขาลักลอบขนเข้ามาดำเนินการร้ายในประเทศไทย คือ สาเหตุที่เกลียด นปข. นัก (หมายถึง หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง) เพราะเขาจะขนอาวุธเหล่านี้เข้ามา อาวุธเหล่านี้ ในเวลานี้ได้สะสมไว้ที่เวียงป่าเป้าในเชียงใหม่ อีกส่วนหนึ่งนั้นได้สะสมไว้ที่สุราษฎร์ธานี
บทความ • บทสัมภาษณ์
6
ตุลาคม
2564
PRIDI Interview: รังสิมันต์ โรม "6 ตุลาฯ อุดมการณ์ที่ยังไม่สัมฤทธิ์ผล"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
ตุลาคม
2564
ปัญหามิใช่อยู่ที่ว่าขบวนอภิวัฒน์ปฏิเสธความสำคัญของทหาร แต่ทหารที่ว่านี้คือทหารของฝ่ายราษฎร ที่มาจากราษฎร โดยราษฎร ได้รับการฝึกฝนอบรมให้ปฏิบัติการเพื่อราษฎร ไม่ยอมเป็นเครื่องมือของอำนาจเผด็จการที่ปกครองทหารอย่างทาส
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to บทความ
3
ตุลาคม
2564
ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ได้ปรากฏกระแสความตื่นตัวและให้ความสนใจต่อสิ่งที่เรียกว่า “รัฐธรรมนูญ” ในหมู่ประชาชน