ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
12
มีนาคม
2564
ก่อนการอภิวัฒน์สยามเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ย้อนกลับไปนับตั้งแต่ช่วงปลายอยุธยาจนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สิทธิที่จะใช้สอยทรัพย์สินที่อยู่ภายใต้สิทธิของกษัตริย์ โดยราษฎรได้รับอนุญาตให้ใช้ที่ดินในฐานะสิ่งตอบแทนที่เป็นแรงงานให้กับรัฐ ซึ่งกษัตริย์ยังสงวนอภิสิทธิ์และพระราชอำนาจที่จะจำหน่ายจ่ายโอนที่ดินให้กับคนในบังคับของพระองค์
แนวคิด-ปรัชญา
10
มีนาคม
2564
ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ 24 มิถุนายน 2475 นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในคณะผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองและเป็นผู้รับผิดชอบในด้านการเมืองซึ่งได้รับมอบหมายให้เป็นผู้เขียนคำแถลงการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองและร่างธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ได้เรียกการเปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งนั้นว่า ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ เปลี่ยนจากระบอบที่กษัตริย์มีอำนาจอย่างล้นพ้นมาเป็นการจำกัดภายใต้รัฐธรรมนูญ
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2564
คำว่า Soft Power เราถูก Popularize ในวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และ ถูกใช้กับอำนาจทางวัฒนธรรมของสหรัฐ ในช่วงที่สงครามเย็นสิ้นสุดลง และพูดถึงเรื่องการศึกษาวัฒนธรรมดนตรี วัฒนธรรมหนังฮอลลีวูด ให้ความหมายในเชิงวัฒนธรรมค่อนข้างเป็นรูปธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
6
มีนาคม
2564
ในงานเสวนาออนไลน์ PRIDI Live “Soft Power บนเส้นทางการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย" อ.ภาสกร อินทุมาร ได้ชวนคุยในหัวข้อ "คือผู้อภิวัฒน์ ละคอนเวที และพื้นที่ศิลปะเชิงสังคม"
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มีนาคม
2564
วรรณกรรมเรื่อง "สี่แผ่นดิน" ที่ ส.ศิวรักษ์ หยิบยกมากล่าวถึงในงานเสวนา “Soft Power บนเส้นทางการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย" หัวข้อ ลอกคราบสี่แผ่นดิน: วิจารณ์วรรณกรรมอนุรักษ์นิยมผ่านมุมมองปัญญาชนสยาม หากว่าด้วยเรื่องของเกร็ดประวัติศาสตร์ ในเรื่องของการละเล่น จนถึงความเป็นอยู่ของสังคมสมัยรัชกาลที่ 5 นั้น ถือว่าวรรณกรรมชิ้นนี้เป็นเรื่องที่ยอดเยี่ยมมากที่สามารถถ่ายทอดเรื่องราวออกมาได้อย่างดีงาม
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มีนาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492 สิ้นสุดลง ได้เกิดการเริ่มต้นของปฏิบัติการกวาดล้างและจับกุมคณะผู้ก่อการฯ ภายใต้การบังคับบัญชาของพลตำรวจตรีเผ่า ศรียานนท์ ซึ่งได้ตั้งกองบัญชาการปราบปรามขึ้นที่วังปารุสกวัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มีนาคม
2564
กรณีสังหารโหดที่เกิดขึ้นช่วงทศวรรษ 2490 ยุคของคณะรัฐประหาร ผู้สนใจการเมืองไทยมักจะคุ้นเคยกับเรื่องราวฆาตกรรม 4 อดีตรัฐมนตรี ได้แก่ ดร.ทองเปลว ชลภูมิ, นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์, นายถวิล อุดล และ นายจำลอง ดาวเรือง แต่ปรากฏว่ายังมี "เหยื่อฆาตกรรมทางการเมือง" อีกมากมาย ในจำนวนนั้นมีรายชื่อ 2 พี่น้องแห่งตระกูล "บุนนาค" อยู่ด้วย คือ นายชาญ และ นายเล็ก
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มีนาคม
2564
นายทวี ตะเวทีกุล เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทยภายในประเทศชั้นผู้ใหญ่ผู้หนึ่งซึ่งได้รับความไว้วางใจและมีความใกล้ชิดกับนายปรีดี พนมยงค์หัวหน้าขบวนการนับตั้งแต่แรกเริ่ม
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2592 ได้พ่ายแพ้ กรมตำรวจได้ตั้งกองบัญชาการปราบปรามขึ้นที่วังปารุสกวัน ภายใต้การอำนวยการของพลตำรวจตรีเผ่า ศรียานนท์ จุดประสงค์หลักคือต้องการกวาดล้างนักการเมืองฝ่ายพลเรือนของนายปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กุมภาพันธ์
2564
หลังจากหลบซ่อนตัวอยู่เป็นเวลา 5 เดือน นายปรีดี พนมยงค์ จึงตัดสินใจลี้ภัยออกจากสยามประเทศอีกครั้ง โดยมอบหมายให้ท่านผู้หญิงพูนศุขจัดหาลู่ทางในการหลบหนีและขอความช่วยเหลือจากมิตรผู้ซื่อสัตย์ทั้งชาวไทยและชาวจีนซึ่งได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดีในเรื่องของการเตรียมที่เตรียมทาง แต่ทว่าไม่ได้ราบรื่นไปเสียทั้งหมด เพราะหนทางยาวไกลนั้นเกิดอุปสรรคนานานัปการให้คอยแก้ไข ให้คอยลุ้นอยู่ตลอดกว่าจะถึงปลายทางเกือบไม่รอดหลายต่อหลายครั้ง
Subscribe to บทความ