ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
6
เมษายน
2564
ไม่ว่าจะอยู่ในบทบาทไหน "ฉลบชลัยย์ พลางกูร" หรือที่เรียกกันอย่างเคยชินว่า "ครูฉลบ" ก็เป็นบุคคลอันเป็นที่รักของผู้ใกล้ชิดอย่างเต็มหัวใจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2564
พระเจ้าช้างเผือก ผลงานภาพยนตร์อันลือเลื่องของนายปรีดี พนมยงค์ มักได้รับการเล่าแจ้งแถลงขานผ่านหลากหลายแง่มุมเสมอๆ ผมเองก็เคยเขียนถึงมาแล้วบ่อยหน ทว่า ในครานี้จะลองนำเสนอเนื้อหาที่ดูเหมือนยังมิค่อยปรากฏใครเอ่ยอ้างเท่าไหร่ นั่นคือแนะนำให้คุณผู้อ่านทำความรู้จัก "ช่างแต่งหน้านักแสดงประจำกองถ่ายภาพยนตร์" เรื่องดังกล่าว
บทบาท-ผลงาน
3
เมษายน
2564
การที่การเมืองขัดแย้งรุนแรงในวันนี้ ย่อมสามารถแก้ไขได้ด้วยหลักสันติธรรม ภราดรภาพ และการให้อภัย
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
เมษายน
2564
พระเจ้าช้างเผือก : ภาพยนตร์แห่งสันติภาพท่ามกลางกองเพลิงสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2564
1 เมษายน 2476 เป็นวันขึ้นปีใหม่ไทยในยุคสมัยนั้น แต่ ณ ห้วงเวลานั้น ได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกในภายใต้ระบอบใหม่ นำโดยนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย คือ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ซึ่งเป็นการรัฐประหารรัฐบาลตัวเอง ที่เรียกกันว่า "รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา"
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2564
31 มีนาคม 2564 116 ปี ศรีบูรพา สุภาพบุรุษสามัญชน ผู้เห็นเกียรติสำคัญกว่าทุกสิ่ง
แนวคิด-ปรัชญา
30
มีนาคม
2564
  แผนที่ทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่บริเวณที่จะดำเนินโครงการคลองคอคอดกระ   กุมภาพันธ์ พ.ศ.2501  เรียน นายกสมาคมหนังสือพิมพ์ ประเทศไทย
บทสัมภาษณ์
29
มีนาคม
2564
เย็นวันนี้ ทีมบรรณาธิการของเรามีนัดสัมภาษณ์กับ ลุงแมว พันตรี พุทธินาถ พหลพลพยุหเสนาบุตรคนที่ 4 ของพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย ผู้ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นหัวหน้าคณะราษฎร หนึ่งในสี่ทหารเสือผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475  เมื่อถึงเวลานัดหมาย เราพร้อมกันที่บ้านทาวน์เฮ้าส์ หลังหนึ่งซึ่งอยู่ห่างออกจากชานเมืองไปไม่ไกลนัก เจ้าของบ้านดวงหน้ายิ้มแย้มสดใสยืนรอต้อนรับพวกเราอยู่ที่หน้าประตูบ้านด้วยความเป็นกันเอง ก่อนเชื้อเชิญกันเข้ามานั่งที่โต๊ะรับรองภายในบ้าน ลุงแมวตระเตรียมทั้งขนมและน้ำให้พวกเราอย่างเต็มที่
บทบาท-ผลงาน
28
มีนาคม
2564
ความสำคัญในการจัดทำงบประมาณครั้งแรก ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็คือ การเปลี่ยนแปลงในเชิงหลักการของผู้ทรงอำนาจสูงสุดในทางงบประมาณจากพระมหากษัตริย์มาเป็นสภาผู้แทนราษฎรในฐานะผู้แทนของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มีนาคม
2564
ข้าพเจ้าเขียนบทความนี้ ณ วันที่ 9 มิถุนายน อันเป็นปีที่ 26 แห่งวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 8 จึงขอน้อมถวายแรงงานในการนี้เป็นราชพลี เจตนารมณ์ของการพิมพ์หนังสือเล่มนี้ นายชาญวิทย์เข้าใจว่าเพื่อจะลบล้างความคิดที่ว่านายปรีดีไม่ชอบเจ้า นอกไปจากนี้แล้ว ก็ต้องการจะยืนยันงานชิ้นโบว์แดงอันสำคัญที่นายปรีดีทำได้สำเร็จอย่างงดงาม “ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2”
Subscribe to บทความ