ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
16
กรกฎาคม
2567
พระราชนิพนธ์แปลเรื่อง ‘ผีเสื้อ’ ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เป็นเรื่องสั้นขนาดยาวที่บันทึกความเปลี่ยนแปลงของสังคมจีนในช่วงการปฏิวัตินธรรม ค.ศ.1966-1969 แสดงให้เห็นผลกระทบทางการเมืองต่อชีวิตมนุษย์ในสังคม
ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2567
ชีวประวัติย่อของวาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ เขียนโดยสุดา และดุษฎี พนมยงค์ แสดงถึงผลงานสำคัญได้แก่ การทำงานถวายสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้าฯ การทำงานสอนภาษาจีน งานบรรณาธิการหนังสือ งานมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ และงานกองทุนศรีบูรพา
ชีวิต-ครอบครัว
15
กรกฎาคม
2567
บันทึกและข้อเขียนของสุภา ศิริมานนท์ และลูกศิษย์ใกล้ชิดของนายปรีดี พนมยงค์ที่ไปพบท่านในช่วงบั้นปลายของชีวิตถึงประวัติศาสตร์ 2475-2520 และแนวคิดสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ โดยนายปรีดีได้กล่าวถึงสิ่งที่กังวลต่อชาติบ้านเมืองคือ ‘อนาคตของประเทศไทย’
ชีวิต-ครอบครัว
14
กรกฎาคม
2567
สุวัฒน์ วรดิลก เล่าถึงความสัมพันธ์กับปรีดี พนมยงค์ ในทศวรรษ 2490 ภายหลังจากที่ปรีดีลี้ภัยไปจีนส่วนสุวัฒน์ได้พาคณะศิลปินเดินทางไปเปิดการแสดงยังจีนและได้พบปะกับปรีดีและได้ทราบกิจวัตรของปรีดีในจีนบางส่วนที่ไม่ค่อยได้มีการเปิดเผยโดยทั่วไป
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
กรกฎาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ได้บรรยายถึงบรรยากาศในสภาวันจันทร์ของการประชุมอภิปรายทั่วไปของฝ่ายค้านในการวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลคือ พรรคประชาธิปัตย์กับคณะรัฐบาลของนายพล ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
กรกฎาคม
2567
ในทศวรรษ 2480 มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง มีความเกี่ยวข้องกับการเมืองไทยในระยะพลิกผันที่สำคัญคือ เป็นฐานที่มั่นของขบวนการเสรีไทย และเป็นที่ฝึกของเสรีไทยในธรรมศาสตร์
วันนี้ในอดีต
11
กรกฎาคม
2567
ในวาระรำลึก 97 ปี ชาตกาล เสน่ห์ จามริก ในฐานะ ต.ม.ธ.ก. รุ่น 6 ท่านเคยเล่าถึงปรีดี พนมยงค์ ต.ม.ธ.ก. และการเมืองไทยสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ไว้พร้อมกับอัตชีวประวัติสำคัญในแต่ละช่วงวัย
บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ตอนที่ 7 เสนอ 3 ประเด็นสำคัญคือ การนำรัฐธรรมนูญชั่วคราวขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ความคลาดเคลื่อนวันเวลาที่ผู้แทนคณะราษฎรเข้าเฝ้าฯ และการฝ่าฝืนความจริงเกี่ยวกับบุคคลที่เข้าเฝ้าฯ โดยนายปรีดี พนมยงค์ โต้แย้งด้วยหลักฐานฯ ที่หักล้างได้ทั้ง 3 ประการ
แนวคิด-ปรัชญา
9
กรกฎาคม
2567
ตึกโดมเป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง และเป็นสัญลักษณ์สำคัญของมหาวิทยาลัยโดยมีการสันนิษฐานว่าหลักการในการออกแบบมาจากหลัก 6 ประการ และสะท้อนรูปแบบของศิลปะสมัยคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
7
กรกฎาคม
2567
ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของปรีดี พนมยงค์ ประกอบด้วย ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และทัศนะทางสังคมที่เป็นประชาธิปไตย
Subscribe to บทความ