ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
15
เมษายน
2568
อาจารย์ดิเรก ชัยนาม ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งทูตหลังรัฐประหารปี 2490 เพราะยึดหลัก "เกียรติ" เหนือผลประโยชน์ส่วนตัว และเลือกความถูกต้องทางจริยธรรม การกระทำนี้สะท้อนความกล้าหาญและคุณธรรมของผู้นำที่แท้จริง
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
เมษายน
2568
ช่วงชีวิตหนึ่งเจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่คนแรก กับบทบาทและความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์และเจ้าวงศ์ ตั้งแต่ช่วงเวลาการถ่ายภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก ภาพยนตร์ถ่ายทำที่จังหวัดแพร่ และบทบาทสมาชิกขบวนการเสรีไทยจังหวัดแพร่ กับการมีส่วนร่วมในการจัดตั้งและดำเนินงานของขบวนการเสรีไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
เมษายน
2568
ทองใบ ทองเปาด์ เปรียบเทียบกฎหมายและบทบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ให้เห็นถึงข้อบกพร่องของกฎหมายที่เปิดช่องโหว่การเลือกปฏิบัติ ส่งผลให้ลูกจ้างไม่ได้รับความเป็นธรรม ลูกจ้างจึงจำเป็นต้องร่วมมือกันศึกษากฎหมายเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรลูกจ้าง
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
เมษายน
2568
ดิเรก ชัยนาม มีทั้งความสุภาพเรียบร้อย ความรู้ความสามารถ และความเสียสละเพื่อชาติ โดยเฉพาะบทบาทในช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 กับคณะราษฎรและสงครามโลกครั้งที่ 2 กับขบวนการเสรีไทย ที่คุณดิเรกเข้าร่วมอย่างกล้าหาญ เสี่ยงชีวิตเพื่อประเทศชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2568
ครูองุ่น มาลิก ผู้เปี่ยมด้วยความยุติธรรม แม้ถูกคุมขังจากรัฐก็ยังคงยึดมั่นในสัจจะต่อความคิดของตนเอง เปรียบดั่งชีวิตที่ทำงานเพื่อสังคมจนวินาทีสุดท้าย
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2568
“นายบำเรอ“ นามปากกาอีกชื่อหนึ่งของกุหลาบ สายประดิษฐ์ ซึ่งวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการรณรงค์ป้องกันอหิวาตกโรคของกรมสาธารณสุข โดยเสนอว่าควรใช้สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อสร้างความเข้าใจให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคระบาดมากขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2568
ในวาระ 120 ปีแห่งชาตกาลของกุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือศรีบูรพา นักคิดนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ บทความนี้ได้นำเสนองานเขียนด้านพุทธศาสนาของศรีบูรพาคือ อุดมธรรม มีการจัดพิมพ์ในช่วงที่ผู้ประพันธ์ยังมีชีวิตอยู่เพียงเล่มเดียว
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
มีนาคม
2568
ในวาระชาตกาลพระยาพหลพลพยุหเสนา ขอเสนอข้อมูลใหม่ของพระยาพหลฯ เรื่องตรวจราชการยังภาคอีสานเมื่อ พ.ศ. 2476 โดยมุ่งทำความเข้าใจสภาพท้องถิ่นและหาแนวทางการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจของราษฎรตามหลัก 6 ประการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2568
สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) ผู้เป็นพระอาจารย์ของพระยาพหลพลพยุหเสนา ผู้นำคณะราษฎร และอภิวัฒน์สยาม 2475 ที่ไม่เพียงเปลี่ยนแปลงการเมืองเพียงเท่านั้น แต่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงพุทธศาสนาตามหลักประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มีนาคม
2568
ไทยสามารถรอดพ้นจากสถานะประเทศผู้แพ้สงครามด้วยยุทธศาสตร์ทางการเมืองและการทูตอันซับซ้อน ผ่านบทบาทของขบวนการเสรีไทย และการใช้ประโยชน์จากดุลอำนาจระหว่างประเทศโดยเฉพาะความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับสหรัฐอเมริกา
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์