11
พฤษภาคม
ข่าวสาร
13
พ.ค.
2568
แถลงการณ์สถาบันปรีดี พนมยงค์ชี้แจงว่าแนวคิดพฤฒสภาไม่ได้มาจากปรีดี พนมยงค์ แต่เป็นฉันทามติของรัฐสภาในปี 2489 ระบบการเลือกตั้งในขณะนั้นเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมผ่านผู้แทนที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง ต่างจากวุฒิสภาปัจจุบันที่มาจากการแต่งตั้งกันเองและประชาชนไม่มีส่วนร่วม
12
พ.ค.
2568
สรุปประเด็นจากงานเสวนา PRIDI Talks #30 “ประชาธิปไตยที่ไร้สันติภาพ : เมื่อความรุนแรงไม่ได้อยู่แค่ในสงคราม” พร้อมทั้งภาพกิจกรรม โดยแสดงให้เห็นถึงการถกเถียงกันเรื่องความรุนแรงและพัฒนาการประชาธิปไตยไทย ในช่วงเวลาความขัดแย้ง
12
พ.ค.
2568
11 พฤษภาคม 2568 ที่ผ่านมา ณ อนุสาวรีย์ปรีดี พนมยงค์ บริเวณลานปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เนื่องในวันปรีดี พนมยงค์ 2568 เป็นวาระ 125 ปี ชาตกาล ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์
บทความ
17
พ.ค.
2568
สุธรรม แสงประทุม อภิปรายถึงปัญหาความรุนแรงตลอดหลายทศวรรษของประเทศไทยตั้งและ แม้ว่านายปรีดี พนมยงค์จะเคยพยายามแก้ไขปัญหาสันติภาพในจังหวัดชายแดนใต้ แต่มีหลายปัจจัยที่ทำให้ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
17
พ.ค.
2568
"พฤษภาทมิฬ" เหตุการณ์สำคัญหน้าหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นเมื่อคราวที่ พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยชนวนเหตุครั้งนั้น คือ การต่อต้านการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) หัวหน้าผู้ก่อการ คือ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ ขณะนั้น ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2534
16
พ.ค.
2568
ความรุนแรงมีทั้งทางตรง เชิงโครงสร้าง และเชิงวัฒนธรรม ซึ่งต้องถูกขจัดทั้งหมดจึงจะสร้างสันติภาพอย่างยั่งยืนได้ และท่ามกลางโลกที่ระเบียบที่กำลังล่มสลาย อ.ดร.ฟูอาดี้ชวนคิดถึงสันติภาพผ่าน “สงครามที่ชอบธรรม” ผ่านภาพยนตร์ “พระเจ้าช้างเผือก”
16
พ.ค.
2568
แนวทางปฏิรูประบบสวัสดิการและกฎหมายแรงงานไทย เพื่อรับมือผลกระทบจากสงครามการค้าและแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่เปลี่ยนแปลงเร็ว โดยเน้นการสร้างหลักประกันรายได้, การฝึกทักษะใหม่, ลดความเหลื่อมล้ำผ่านนโยบายภาษี, และสวัสดิการถ้วนหน้า
16
พ.ค.
2568
บทบาทของคณะทูตไทยประจำญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีเป้าหมายซ่อนเร้นในการติดต่อฝ่ายสัมพันธมิตร ขณะเดียวกันต้องรักษาความสัมพันธ์กับญี่ปุ่นในฐานะพันธมิตรทางการทูต
15
พ.ค.
2568
ชลิดา ทาเจริญศักดิ์เสนอให้ใช้พลังภาคประชาชนสร้างสันติภาพไทย-พม่าผ่านการทำงานจากล่างขึ้นบน และประชาชนถึงประชาชน พร้อมวิจารณ์กลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียนว่าไร้ประสิทธิภาพและเรียกร้องให้รัฐไทยวางตัวเป็นกลางไม่หนุนรัฐบาลทหารพม่า
15
พ.ค.
2568
พึ่ง ศรีจันทร์ อดีตประธานสภา ในบทบาทสำคัญในขบวนการเสรีไทย โดยรับผิดชอบงานในภาคเหนือตอนล่าง โดยใช้ชื่อว่า "นายพลผึ้ง" บทบาทของท่านเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนภารกิจเพื่อรักษาเอกราชของชาติ
15
พ.ค.
2568
บทความรำลึกถึงครูแก้ว อัจฉริยะกุล ผ่านบทเพลง “หวนอาลัย” ที่รังสรรค์ขึ้นเพื่อไว้รำลึกถึง นายปรีดี พนมยงค์ หลังรัฐประหาร 2490 ที่ต้องลี้ภัยการเมือง และนักศึกษาธรรมศาสตร์ได้นำมาเป็นสัญลักษณ์แห่งความสูญเสียในยุคมืดของประชาธิปไตยหลังขบวนการประชาธิปไตย
15
พ.ค.
2568
สงครามการค้าสหรัฐฯ-จีนส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยผ่านการลดลงของการส่งออกและความผันผวนในห่วงโซ่อุปทาน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ และเกษตรกรรม แรงงานไทยเผชิญกับการสูญเสียงาน รายได้ลดลง และภาระหนี้เพิ่ม ขณะที่กลไกรัฐยังไม่ตอบโจทย์
14
พ.ค.
2568
จากการที่ประเทศไทยให้ความร่วมมือกับญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงเกิดความแตกแยกภายในของกลุ่มชาวไทยในต่างประเทศ อันได้แก่ กลุ่มในสหรัฐฯ จีน และอินเดีย และการเสียเปรียบจำยอมทางเศรษฐกิจต่อญี่ปุ่น นำมาซึ่งการขบวนต่อต้านของเสรีไทยในเวลาต่อมา
14
พ.ค.
2568
หลักการมนุษยธรรมทั้ง 4 หลักการ ประกอบด้วย ความเป็นกลาง ไม่เอนเอียง และมีอิสรภาพในการทำงาน และการพัฒนา จะสามารถสร้างสันติภาพที่ยั่งยืนได้
หนังสือขายดี
ผู้เขียน : ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
พิมพ์ครั้งที่่ 1 : มิถุนายน 2564
เนื่องในวาระ 81 ปี พระเจ้าช้างเผือก
ชุด พระเจ้าช้างเผือก 200 บาท
+ DVD พระเจ้าช้างเผือก
หนังสือแนะนำ
เศรษฐศาสตร์การเมือง (เพื่อชุมชน) ฉบับที่ 10
จำนวนหน้า : 423 หน้า
ราคาเล่มละ : 300 บาท
หนังสือหายาก
แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์
เหลือ 5 เล่ม
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดย ปรีดี พนมยงค์
เหลือ 10 เล่ม