11
พฤษภาคม
ข่าวสาร
5
พ.ค.
2568
ในวาระ 125 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้จัดเวทีเสวนา “ประชาธิปไตยที่ไร้สันติภาพ : เมื่อความรุนแรงไม่ได้อยู่แค่ในสงคราม”
1
เม.ย.
2568
ประกาศ สถาบันปรีดี พนมยงค์ เรื่อง การพ้นสภาพการเป็นพนักงานของคุณรวินทร์ คำโพธิ์ทอง
บทความ
11
พ.ค.
2568
PRIDI Interview ตอน จากอยุธยา ถึงบ้านอองโตนี: นายปรีดีในความทรงจำของดำรง พุฒตาล เนื่องในวาระ 125 ปีชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ เพื่อพูดคุยเกี่ยวกับความเป็นรัฐบุรุษ และบ้านหลังแรกของปรีดีที่อยุธยา และบ้านหลังสุดท้ายคือบ้านอองโตนีที่ฝรั่งเศส
11
พ.ค.
2568
ข้อความระลึกถึง คุณศิริ สันตะบุตร ศิษย์คนสำคัญของนายปรีดี โดย ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ในงานพระราชทานเพลิงศพ ถึงมิตรภาพและการช่วยเหลือซึ่งกัน ทั้งนี้เมื่อมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ก่อตั้งขึ้น คุณศิริยังได้รับเลือกให้เป็นกรรมการและรองประธานมูลนิธิฯ โดยช่วยงานอย่างแข็งขัน
11
พ.ค.
2568
ปรีดี พนมยงค์ วิเคราะห์สถานการณ์ประเทศเพื่อนบ้านที่เปลี่ยนผ่านสู่ระบบใหม่หลังสงครามอินโดจีน โดยเตือนว่าไทยต้องปฏิรูปภายใน สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ และไม่ตกเป็นเครื่องมือของมหาอำนาจ
10
พ.ค.
2568
บทความชี้ให้เห็นวิกฤตศรัทธาต่อวุฒิสภาไทยจากกรณีทุจริต และชี้ว่าวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งขัดแย้งกับหลักประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์ ซึ่งเสนอให้มี “สภาเดียว” ที่ยึดโยงกับประชาชนโดยตรง บทความจึงเรียกร้องให้ปฏิรูประบบรัฐสภาไทยให้กลับสู่หลักการนี้เพื่อฟื้นฟูประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
เมื่อโลกไม่ได้แค่ความรุนแรงในสงคราม: สำรวจหลากมิติของความรุนแรง บทสัมภาษณ์ ศ. ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์
10
พ.ค.
2568
เมื่อ “ความรุนแรงไม่ได้อยู่ไม่ได้อยู่แค่ในสงคราม” จึงขอชวนทำความเข้าใจมิติความรุนแรงที่ซับซ้อน ผ่านบทสนทนาระหว่าง สุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน และ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ถึงมิติความรุนแรงเชิงโครงสร้าง เพื่อการแสวงหาสันติภาพอย่างแท้จริง
10
พ.ค.
2568
ชีวิตของหลวงทัศไนยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี) นายทหารม้าที่มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในฐานะ "ทัพหน้าทหารม้าและรถรบ" ของคณะราษฎร และเป็นหนึ่งในมิตรสนิทของ ปรีดี พนมยงค์
10
พ.ค.
2568
กรุณา กุศลาสัย นักเขียนผู้เชี่ยวชาญด้านภารตศึกษาของเมืองไทย และเคยถูกคุมขังใน “มหาลัยลาดยาว” ในข้อหาคอมมิวนิสต์ โดยเขียนยกย่อง นายปรีดีเป็น “บุรุษรัตน์” ว่าแม้จะล่วงลับไปแล้ว แต่ผู้คนยังจดจำจารึกไว้ไม่เลือนหาย
8
พ.ค.
2568
บทความเตือนว่าการปลุกกระแสคลั่งชาติอาจทำให้ไทยใช้กำลังยึดดินแดนเพื่อนบ้านอาจเป็นความสำเร็จที่ไม่ยั่งยืน เช่นกรณีสงครามอินโดจีนซึ่งไทยต้องคืนดินแดนภายหลัง โดยนายปรีดี เตือนว่าเป็นเพียงผลประโยชน์ชั่วคราวและเป็นภาพลักษณ์ที่ไม่ดีของประเทศ
8
พ.ค.
2568
นายปรีดี พนมยงค์ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489 และแถลงนโยบายต่อสภา นายปรีดีมุ่งฟื้นฟูประเทศจากวิกฤตเศรษฐกิจและสังคมซึ่งบอบช้ำมาจากสงครามโลกครั้งที่ 2 คำแถลงนี้สะท้อนวิสัยทัศน์ผู้นำและการวางรากฐานประชาธิปไตย
6
พ.ค.
2568
แม้นายปรีดี พนมยงค์ จะลี้ภัยไปต่างประเทศอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ทางการเมือง หลวงบรรณกรโกวิท (เปา จักกะพาก) ผู้ใกล้ชิดนายปรีดีมายาวนานก็ยังเป็นมิตรแท้ที่สำคัญต่อครอบครัวปรีดีพูนศุขตราบจนวาระสุดท้ายของชีวิต
5
พ.ค.
2568
ด้วยสถานการณ์ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่กลับมารุนแรงขึ้น ทางสถาบันปรีดี พนมยงค์ยังคงเป็นพื้นที่เพื่อถกเถียงในประเด็นสันติภาพตามแนวคิดของปรีดี พนมยงค์ที่เน้นว่า รัฐต้องมีธรรมะและต้องฟังเสียงประชาชน อีกทั้งการเสนอทางออกของความขัดแย้งที่ยั่งยืน คือ การเจรจา
หนังสือขายดี
ผู้เขียน : ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
พิมพ์ครั้งที่่ 1 : มิถุนายน 2564
เนื่องในวาระ 81 ปี พระเจ้าช้างเผือก
ชุด พระเจ้าช้างเผือก 200 บาท
+ DVD พระเจ้าช้างเผือก
หนังสือแนะนำ
เศรษฐศาสตร์การเมือง (เพื่อชุมชน) ฉบับที่ 10
จำนวนหน้า : 423 หน้า
ราคาเล่มละ : 300 บาท
หนังสือหายาก
แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์
เหลือ 5 เล่ม
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดย ปรีดี พนมยงค์
เหลือ 10 เล่ม