16
สิงหาคม
ข่าวสาร
29
ต.ค.
2567
28 ตุลาคม 2567 – สถาบันปรีดี พนมยงค์ และ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
บทความ
4
พ.ย.
2567
อนุกรรมการพัฒนาสิทธิประโยชน์แรงงานนอกระบบ เสนอจุดเด่นและสิทธิประโยชน์เพิ่มเติมต่อกลุ่มแรงงานอิสระ (มาตรา40) เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการประกันสังคมในลำดับต่อไป
3
พ.ย.
2567
เนตร เขมะโยธิน เขียนถึงปฏิบัติการเสรีไทยในจีนของถวิล อุดล ผู้ที่ปรีดี พนมยงค์ มอบหมายภาระกิจส่งสารไปยังจีนในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2
2
พ.ย.
2567
สาระสำคัญของกฎหมายสมรสเท่าเทียม หรือ พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2567 ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความเสมอภาคทางเพศฉบับแรกของไทย
1
พ.ย.
2567
“OCTOBER FEST” เทศกาลเดือนตุลา ตลาดนัดประชาธิปไตย ที่จัดไป เมื่อวันที่ 5-6 , 12-13 ตุลาคม 2567 ที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เป็นส่วนหนึ่งในเทศกาลศิลปะการแสดง ครั้งที่ 13 จัดระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม-24 พฤศจิกายน 2567
31
ต.ค.
2567
วาระครบรอบ 91 ปี กบฏบวรเดช ภายหลังเหตุการณ์การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและการหวนกลับของกบฏบวรเดช สะท้อนให้เห็นถึงพื้นที่อนุสาวรีย์ที่ยังเป็นพื้นที่ความทรงจำตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
30
ต.ค.
2567
110 ปี ชาตกาลของจำกัด พลางกูร เป็นปากคำประวัติศาสตร์ของฉลบชลัยย์ พลางกูร ภรรยาของจำกัด ที่บอกเล่าเรื่องราวชีวิต และการทำงานเสรีไทยของจำกัดอย่างละเอียด
29
ต.ค.
2567
ในวาระ 14 ปี มรณกรรม ศุขปรีดา พนมยงค์ ได้เขียนถึง 21 ปี ที่นายปรีดี พนมยงค์ ได้พํานักอยู่ในประเทศจีน ตั้งแต่ พ.ศ. 2492-2513 ซึ่งนายปรีดี และครอบครัวมีความรู้สึกซาบซึ้งในไมตรีจิตมิตรภาพของราษฎรจีน และผู้นําจีน
28
ต.ค.
2567
เปลื้อง วรรณศรี วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อ พ.ศ. 2493 ว่ามีลักษณะทอดทิ้งประชาชน ในนิตยสารรัฐบุรุษ ฉบับวันเกิดปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2493
27
ต.ค.
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ชี้ให้เห็นว่า ภายหลังจากการแถลงนโยบายของรัฐบาล หากเกิดปัญหาในรัฐบาลนายกรัฐมนตรีต้องเป็นผู้ที่รับผิดชอบคณะรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบร่วมกัน
26
ต.ค.
2567
“เทศกาลหุ่นโลก” ครั้งที่ 27 ปี 2567 (Harmony World Puppet Innovation Festival 2024) จัดขึ้นวันที่ 13-17 พฤศจิกายน 2567 ณ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (อพวช.) ต. คลองห้า อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี
25
ต.ค.
2567
เมื่อ พ.ศ. 2514 นายปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวถึงข้อสังเกตเกี่ยวกับเอกภาพของชาติ ในประเทศที่มีความแตกต่างกันทางเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา โดยยกอุทาหรณ์ในอดีตที่เคยเกิดขึ้นทั้งในต่างประเทศและในประเทศเองมาให้ 'อนุชน' พิจารณา
หนังสือขายดี
ผู้เขียน : ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
พิมพ์ครั้งที่่ 1 : มิถุนายน 2564
เนื่องในวาระ 81 ปี พระเจ้าช้างเผือก
ชุด พระเจ้าช้างเผือก 200 บาท
+ DVD พระเจ้าช้างเผือก
หนังสือแนะนำ
เศรษฐศาสตร์การเมือง (เพื่อชุมชน) ฉบับที่ 10
จำนวนหน้า : 423 หน้า
ราคาเล่มละ : 300 บาท
หนังสือหายาก
แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์
เหลือ 5 เล่ม
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดย ปรีดี พนมยงค์
เหลือ 10 เล่ม