ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสาร

8 พฤศจิกายน 2567- มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ และ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง จัดกิจกรรม PRIDI Sanjorn : เรื่องเล่าประวัติศาสตร์และปฏิบัติการเสรีไทยในลําปาง
28 ตุลาคม 2567 – สถาบันปรีดี พนมยงค์ และ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

บทความ

8
ธ.ค.
2567
ไสว สุทธิพิทักษ์ เขียนถึงภารกิจของนายปรีดี พนมยงค์ หลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 ในบทบาทรัฐบุรุษอาวุโส และนายกรัฐมนตรีสมัยแรก รวมถึงการมีส่วนผลักดันให้เกิดรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยสมบูรณ์ ฉบับปี 2489
8
ธ.ค.
2567
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายเรื่องรัฐบาลประชาธิปไตยที่บุคคลอื่นซึ่งมิใช่พระเจ้าแผ่นดินเป็นประมุข และรัฐบาลที่อำนาจบริหารได้ตกอยู่แก่คณะบุคคลโดยในทางเศรษฐกิจ อาจจัดแบ่งรัฐบาลเป็น 3 จำพวกตามลัทธิทางเศรษฐกิจ
ก่อนการอภิวัฒน์สยามนายปรีดี พนมยงค์ ได้สอนกฎหมายปกครองที่มีเนื้อหากล่าวถึงธรรมนูญการปกครองทั้งในหลักการและในทางกฎหมายเปรียบเทียบของประเทศในยุโรป และกล่าวถึงรัฐบาลที่ปกครองด้วยอำนาจของประชาชน
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เขียนตำหนิการเลือกตั้งสภาเทศบาลใน พ.ศ. 2492 ที่มีการรายงานถึงการกระทำที่เป็นการทุจริต โดยเฉพาะอุบายพลร่มและไพ่ไฟ และการเสนองบประมาณประจำปี พ.ศ. 2493 ที่สภาผู้แทนราษฎรได้มีการทักท้วงถึงการใช้งานที่ผิดประเภทและการเพิ่มจำนวนของงบประมาณ
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการอภิวัฒน์โดยโต้แย้งหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินในประเด็นสำคัญที่นายประยูรบิดเบือนว่านายปรีดีระแวงตนเอง การยุยงใส่ร้ายนายปรีดี และปัญหาที่การกุมความลับไม่อยู่ของนายประยูรเป็นหลัก
ละครเวที The Life That Was (ชีวิตที่เป็นอยู่) จะกลับมาแสดงอีกครั้ง 23 ม.ค. - 2 ก.พ. 2568 หลังจากประสบความสำเร็จ เมื่อ 9-24 พ.ย. 2567 ในงาน Bangkok Theatre Festival 2024 ณ โรงละคร LiFE THEATRE ที่ผ่านมา
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์ระบบราชกาารของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ปี 2492 ว่าไม่มีหลักและไม่มีระเบียบ มีรูปแบบเผด็จการโดยใช้กรมโฆษณาการเป็นเครื่องมือทางการเมืองและดำเนินนโยบายตามอังกฤษและสหรัฐอเมริกา
สัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เขียนถึงบทบาทและผลงานสำคัญทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่การอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตในปี 2526
ศักดิชัย บำรุงพงศ์ ในนามปากกา เสนีย์ เสาวพงศ์ แสดงปาฐกถาเรื่องการประพันธ์กับสังคมที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในวันที่ 31 มีนาคม 2495 โดยกล่าวถึงความหมาย ของศิลปวรรณคดี และความรู้สึกนึกคิด (Ideology) ของวรรณกรรม เป็นหลัก
การปฏิรูประบบสวัสดิการแรงงาน และระบบประกันสังคมการสวัสดิการถ้วนหน้าเป็นส่วนสำคัญที่จะนำไปสู่การระบบสวัสดิการถ้วนหน้าให้สังคมไทย และยังส่งเสริมให้เกิดประชาธิปไตยในมิติเศรษฐกิจบนพื้นฐานของสิทธิมนุษยชนคือ แรงงาน

หนังสือขายดี

ผู้เขียน : ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
พิมพ์ครั้งที่่ 1 : มิถุนายน 2564

สันติสุข โสภณสิริ บรรณาธิการ
240 หน้า
ราคา 195 บาท

เนื่องในวาระ 81 ปี พระเจ้าช้างเผือก
ชุด พระเจ้าช้างเผือก 200 บาท
+ DVD พระเจ้าช้างเผือก

หนังสือแนะนำ

หนังสือหายาก

ความเป็นอนิจจังของสังคม
เหลือ 12 เล่ม

แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์
เหลือ 5 เล่ม

ประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดย ปรีดี พนมยงค์
เหลือ 10 เล่ม