ข่าวสาร
25
มิ.ย.
2568
ในวาระ 93 ปี อภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 สถาบันปรีดี พนมยงค์จัดงานเสวนาทางวิชาการในหัวข้อ “เอกราษฎร์ และอธิปไตย ยุคประชาธิปไตย 2475 ถูกท้าทาย” เพื่อเป็นการรำลึกถึงคุณูปการของการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 เหตุการณ์ที่นำมาสู่การริเริ่มการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย
25
มิ.ย.
2568
วันที่ 24 มิถุนายน 2568 ทายาทสมาชิกคณะราษฎรร่วมทำบุญให้แก่บรรพบุรุษ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพมหานคร เนื่องในวันครบรอบ 93 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม หรือเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญประชาธิปไตย
15
มิ.ย.
2568
ค่ำวานนี้ (14 มิถุนายน 2568) มูลนิธิ - สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพในงานสวดพระอภิธรรมศพ คุณวิระ โอสถานนท์ (ม.ว.ม, ป.ช) บุตรชายนายวิลาศ โอสถานนท์ อดีตสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนและประธานพฤฒสภาคนแรก
บทความ
19
ก.ค.
2568
สุชาติ สวัสดิ์ศรีชี้ให้เห็นบทบาทของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ในฐานะนักหนังสือพิมพ์ที่มุ่งมั่นเผยแพร่แนวคิดประชาธิปไตย มนุษยภาพ และสันติภาพ ผ่านข้อเขียนการเมืองกว่า 3 ทศวรรษ ทั้งยังกล่าวถึงผู้อยู่เบื้องหลังการจัดพิมพ์ อาทิ ชนิด สายประดิษฐ์ สุภา ศิริมานนท์ ยศ วัชรเสถียร คำสิงห์ ศรีนอก ตลอดจนกลุ่มนักวิชาการที่ร่วมฟื้นฟูบทบาทของเขาในประวัติศาสตร์
17
ก.ค.
2568
ชำแหละภาพลักษณ์ “ความสง่างาม” ของผู้พิพากษาไทยที่ซ่อนอคติและความไร้ภราดรภาพไว้เบื้องหลัง ผ่านกรณีการปฏิเสธผู้สมัครสอบที่พิการจากโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง สะท้อนให้เห็นว่าสถาบันตุลาการยังขาดความเข้าใจในหลักสิทธิมนุษยชน และใช้กติกาที่ไม่เท่าเทียมตัดโอกาสของมนุษย์อย่างไม่เป็นธรรม
16
ก.ค.
2568
บทความสะท้อนความรักและความผูกพันอันลึกซึ้งระหว่างวาณี พนมยงค์ กับสุรพันธ์ สายประดิษฐ์ ที่แม้จะมิใช่แฝดแท้ แต่ก็ร่วมชีวิต ฝ่าฟันการลี้ภัย การเมือง และเวลาร่วมกันกว่า 36 ปี
เรื่องเล่าจากความทรงจำนี้เผยให้เห็นความเหมือนและต่างของทั้งสอง โดยมีฉากหลังคือการเมืองไทยยุคเปลี่ยนผ่าน และความหมายของชีวิตคู่ที่ผูกโยงด้วยอุดมการณ์เสรีภาพและประชาธิปไตย
14
ก.ค.
2568
ปรีดี พนมยงค์ เขียนสดุดีหลวงสังวรยุทธกิจ นายทหารเรือผู้ร่วมอภิวัฒน์ 2475 และขบวนการเสรีไทยอย่างกล้าหาญ และเสียสละ บทความบันทึกบทบาทของหลวงสังวรฯ ในภารกิจลับหลายด้าน รวมถึงการช่วยเหลือสัมพันธมิตร การคุ้มครองพลร่ม และการส่งอาวุธช่วยเวียดนาม
12
ก.ค.
2568
ศักดิชัย บำรุงพงศ์ เจ้าของนามปากกา "เสนีย์ เสาวพงศ์" เขียนรำลึกคราวหลังครั้งเป็น "เสรีไทย" ที่ทำงานกับนายทหารสัมพันธมิตรอังกฤษ และ "ท่านชิ้น" ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน
11
ก.ค.
2568
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 รัชกาลที่ 8 เสด็จนิวัตพระนครตามที่รัฐบาลภายใต้การนำของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้กราบบังคมทูลอัญเชิญ ท่ามกลางความปรีดาปราโมทย์อย่างสุดซึ้งของพสกนิกรชาวไทย ซึ่งใฝ่ฝันเฝ้ารอรุ่งอรุณแห่งวันใหม่ด้วยจิตใจอันแจ่มใสเบิกบาน
10
ก.ค.
2568
เส้นทางความรักระหว่าง สวง ทรัพย์สำรวย (ล้อต้อก) และ สมจิตต์ โตประภัสว์ นางงามประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่นายปรีดี พนมยงค์ ได้กลายเป็นบุคคลที่มีบทบาทในะผู้ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับของทั้งสองท่าน
9
ก.ค.
2568
บทความถ่ายทอดตำนาน “นาฬิกาปารีส” ลูกตุ้มบนตึกโดมธรรมศาสตร์ ตั้งแต่การรับเป็นของขวัญ การติดตั้ง การดูแลรักษา “เจ้าลูกตุ้ม” จึงเป็นทั้งนาฬิกา แต่เป็นพยานแห่งกาลเวลา ที่ยังยืนหยัดแม้เผชิญสงครามและความเปลี่ยนแปลง
9
ก.ค.
2568
ศาสตราจารย์ ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล ได้ติดตาม ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช กลับถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2488 และเสนีย์ได้เข้าดํารงตําแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีในรุ่งขึ้นวันที่ 17 กันยายนเป็นต้นไป โดยมีภารกิจแรกคือการแต่งตั้งคณะผู้แทนไทยเพื่อไปเจรจาเลิกสถานะสงครามกับอังกฤษที่แคนดี
8
ก.ค.
2568
ปราโมทย์ พึ่งสุนทร มีบทบาทสำคัญในขบวนการเสรีไทย โดยรับหน้าที่ประจำกองบัญชาการเสรีไทยและมีภารกิจดูแลการต้อนรับนายทหารสัมพันธมิตร เช่น โฮวาร์ด พาลเมอร์ รวมถึงทำงานร่วมกับบุคคลสำคัญ เช่น หลวงสังวรยุทธกิจ (สังวร สุวรรณชีพ) และพันโทสำเริง เนตรายน เพื่อดูแลความปลอดภัยและข่าวกรองในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
หนังสือขายดี
ผู้เขียน : ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
พิมพ์ครั้งที่่ 1 : มิถุนายน 2564
เนื่องในวาระ 81 ปี พระเจ้าช้างเผือก
ชุด พระเจ้าช้างเผือก 200 บาท
+ DVD พระเจ้าช้างเผือก
หนังสือแนะนำ
เศรษฐศาสตร์การเมือง (เพื่อชุมชน) ฉบับที่ 10
จำนวนหน้า : 423 หน้า
ราคาเล่มละ : 300 บาท
หนังสือหายาก
แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์
เหลือ 5 เล่ม
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดย ปรีดี พนมยงค์
เหลือ 10 เล่ม