ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เค้าโครงการเศรษฐกิจกับนโยบายรัฐสวัสดิการไทยในปัจจุบัน

ข้อเสนอด้านเศรษฐกิจและสวัสดิการของปรีดี พนมยงค์ ยังมีความทันสมัย แม้บางประเด็น เช่น การผูกขาดทางเศรษฐกิจ การแยกส่วนนโยบาย และระบบภาษี ยังไม่ได้รับการแก้ไข จึงจำเป็นต้องผลักดันต่อไป

ฐานะของสมุดปกเหลือง วิวาทะ และผลลัพธ์ทางการเมือง

ฐานะของ “สมุดปกเหลือง” หรือ “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” มีความน่าสนใจทั้งในบริบทประวัติศาสตร์และปัจจุบัน โดยมีการวิเคราะห์ทั้งในเชิงคุณูปการต่อสังคมและเชิงลบต่อระยะเปลี่ยนผ่านทางการเมืองไทย แต่เมื่อพิจารณามาถึงผลทางเศรษฐกิจและการเมืองกลับพบว่า สมุดปกเหลืองมีคุณูปการต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและการศึกษาแนวคิดสังคมนิยมเศรษฐกิจไปจนถึงการนำหลักเศรษฐกิจบางประการมาวิเคราะห์ว่ามีลักษณะสอดรับกับแนวทางรัฐสวัสดิการ แล้วปรับใช้กับนโยบายของพรรคการเมือง

เค้าโครงเศรษฐกิจ จากปี 2475 ถึง 2556 ปฏิรูปที่ดินเป็นได้แค่ความหวัง?

เค้าโครงเศรษฐกิจของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ต้องการปฏิรูปการกระจายการถือครองที่ดินแต่ถูกต่อต้าน ส่งผลให้โครงสร้างการถือครองที่ดินในไทยยังคงเหลื่อมล้ำสูงจนถึงปัจจุบัน แม้แนวคิดบางส่วนได้นำมาปฏิบัติในภายหลัง

กำเนิดหมุดคณะราษฎร ความหมาย ความทรงจำ และการสูญหาย

"หมุดคณะราษฎร" เป็นสัญลักษณ์การอภิวัฒน์ 2475 ที่รัฐพยายามควบคุม แต่กลับทำให้เกิดกระแสรื้อฟื้นความทรงจำนี้ในสังคม สะท้อนการต่อสู้ระหว่างรัฐและประชาชนในการกำหนดประวัติศาสตร์

รายงานการประชุมกรรมานุการพิจารณา เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ณ วังปารุสกวัน วันที่ ๑๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๕

รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ที่ผสมผสานแคปิตัลิสม์และโซเซียลิสม์ เพื่อให้ประชาชนมีพอมีกิน งานทำ และความสุข โดยมีมติรับรองหลักการและมอบหมายให้จัดทำรายละเอียดเพิ่มเติม

การต่อสู้เพื่ออุดมคติ : ในต่างประเทศ

ปรีดี พนมยงค์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้ออกจากประเทศไทยและเดินทางไปยังหลายประเทศ โดยตลอดเวลาที่อยู่ในต่างประเทศนั้น ปรีดีได้ติดตามสถานการณ์การเมืองในประเทศไทยอย่างใกล้ชิด และเมื่อในปี 2476 รัฐบาลไทยได้เรียกให้ปรีดีกลับมาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีอีกครั้ง

ปัญหาของราษฎรเรื่องการยึดแย่งที่ดินและกรณีบริษัทขุดคลองแลคูนาสยามสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ปัญหาการยึดแย่งที่ดินจากชาวนา การเอารัดเอาเปรียบจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกับรัฐ และความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นในสังคมสยาม เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้นายปรีดี พนมยงค์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม นำไปสู่การอภิวัฒน์ในปี 2475

ระลึกถึงพี่แร่ม ผู้มีส่วนร่วมในการเรียกร้องสิทธิสตรีไทย

คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร ระลึกถึงคุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ ผู้เป็นต้นแบบและมีบทบาทสำคัญในการเรียกร้องสิทธิสตรีไทย จนประสบความสำเร็จในการแก้ไขกฎหมายที่เปิดโอกาสให้สตรีไทยเจริญก้าวหน้าในสังคมเทียบเท่าผู้ชาย

เรียนรู้อะไรจาก “ปฏิวัติสยาม ๒๔๗๕”

การเสวนาในวาระ 100 ปีชาตกาลของนายปรีดี พนมยงค์ เสน่ห์ จามริก ได้กล่าวถึงการอภิวัฒน์สยาม 2475 แสดงความสำคัญของหลักการเหนือตัวบุคคล การผนึกกำลังข้ามกลุ่ม ใช้ "หลักการปลดปล่อยสู่อิสระ" พัฒนาการเมือง เป็นจุดเริ่มต้นสิทธิเสรีภาพ อีกทั้งหลักการของคณะราษฎรที่ยังคงคุณค่าต่อการพัฒนาประเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่างปรีดี-พูนศุข พนมยงค์ กับ ม.ร.ว. พันธุ์ทิพย์ บริพัตร

จดหมายฉบับนี้แสดงความพยายามของนายปรีดี พนมยงค์และท่านผู้หญิงพูนศุข ในการยกย่องบทบาทอันสำคัญของสมเด็จกรมพระยาเทววงศ์วโรปการและกรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย ในการแก้ไขสนธิสัญญาช่วยให้ไทยได้รับเอกราช เสมอภาคกับนานาชาติ มีการส่งมอบหนังสือเพื่อสร้างความตระหนักในคุณูปการของท่านให้แก่คนรุ่นหลัง
Subscribe to