ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์ รู้เรื่องร่างพระราชบัญญัติเทศบาลเมื่อใด และจัดการอย่างไร

ปรีดีพนมยงค์ทราบเรื่องร่าง พ.ร.บ. เทศบาล ในฐานะผู้ช่วยเลขานุการ แต่การพิจารณาล่าช้าด้วยความซับซ้อน ประสบปัญหาข้อขัดแย้งจากต่างประเทศ และไม่มีอำนาจกำหนดลำดับการพิจารณากฎหมายนี้

ประชาธิปไตยสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (?) ตอนที่ 1 : ดุสิตธานี การเทศบาล และเมือง

โครงการดุสิตธานีและร่างกฎหมายพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2473 เป็นความพยายามของชนชั้นนำในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่ยังไม่ใช่การปกครองท้องถิ่นแบบประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ เนื่องจากยังคงเน้นการรวมศูนย์อำนาจ ไม่ได้กระจายอำนาจไปสู่ประชาชนอย่างแท้จริง

ความเป็นมาของศัพท์ไทย “ปฏิวัติ” “รัฐประหาร” “วิวัฒน์” “อภิวัฒน์” (ตอนที่ 3)

ปรีดี พนมยงค์ อธิบายความหมายของ "เรฟโวลูชัน" ตามแนวคิดของมาร์กซ์-เลนิน โดยอ้างอิงจากหนังสือ "ปัญหาเลนิน" ของสตาลิน ซึ่งระบุว่าหมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่ก้าวหน้าและปลดปล่อยมนุษยชาติ

ข้อเท็จจริงบางประการเกี่ยวกับการพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวร 10 ธันวาคม 2475

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีส่วนสำคัญในการพระราชทานรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 โดยมิได้ทรงถูกบังคับ แต่ทรงเต็มพระทัยและมีส่วนร่วมในการยกร่าง รวมทั้งทรงซ้อมพิธีการด้วยพระองค์เอง ผู้แทนราษฎรชั่วคราวที่ร่วมพิจารณาประกอบด้วยเชื้อพระวงศ์และผู้มีบรรดาศักดิ์ แสดงถึงการยอมรับจากทุกฝ่าย

วาณีเล่าเรื่อง : วันวานในโลกกว้าง : “ลุงโฮ” (ตอนที่ 30)

เมื่อเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัย ปลายเกิดความเหงาคิดถึงพ่อแม่ ในช่วงปิดภาคฤดูร้อน ปลายได้เดินทางกลับบ้าน และได้ฟังเรื่องเล่าคนเวียดนามในการต่อสู่เพื่อเอกราชจากผู้เป็นพ่อ

PRIDI Interview : ชีวิต ต.ม.ธ.ก. รุ่น 4 ของสรรเสริญ ไกรจิตติ

PRIDI Interview อาจารย์สรรเสริญ ไกรจิตติ นักเรียนโรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (ต.ม.ธ.ก.) รุ่นที่ 4 ได้เล่าถึงประสบการณ์และความทรงจำช่วงวัยเรียนในสมัยนั้น นอกจากนั้นวัยเรียนยังได้ร่วมแสดงละครภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ที่อาจารย์ปรีดีเป็นผู้กำกับ

คณะราษฎรกับการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย 24 มิถุนายน

สุนทรพจน์ของนายปรีดี พนมยงค์ ในโอกาสการจัดงาน “กึ่งศตวรรษประชาธิปไตย” วันที่ 24 มิถุนายน 2525 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 24-27 มิถุนายน 2525 ได้ชี้แจงถึงความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของคณะราษฎร การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

แด่ วิเชียร วัฒนคุณ “เพื่อนรักคู่แฝด”

ในบันทึกนี้เป็นเรื่องราวที่ สุโข สุวรรณศิริ ได้กล่าวถึงความทรงจำของ “วิเชียร วัฒนคุณ“ เพื่อนสนิทในครั้งขณะศึกษาชั้นเตรียมปริญญา ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง ในแง่ของคุณงานความดี และหน้าที่การงาน

บางเรื่องเกี่ยวกับการก่อตั้งคณะราษฎรและระบบประชาธิปไตย

การก่อตั้งคณะราษฎรที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองในปีพ.ศ. 2475 เริ่มต้นจากการรวมตัวของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดที่ต้องการพัฒนาประเทศให้นำไปสู่ระบอบประชาธิปไตย

อภิวัฒน์สยาม 2475 ข้อเท็จจริงที่หลายคนควรต้องรู้

16 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นเกี่ยวกับการชี้แจงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเหตุการณ์ อภิวัฒน์สยาม 2475 ที่มีการพูดถึงอยู่ ณ ขณะนี้
Subscribe to