ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การต่อสู้เพื่ออุดมคติ : ในต่างประเทศ

ปรีดี พนมยงค์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้ออกจากประเทศไทยและเดินทางไปยังหลายประเทศ โดยตลอดเวลาที่อยู่ในต่างประเทศนั้น ปรีดีได้ติดตามสถานการณ์การเมืองในประเทศไทยอย่างใกล้ชิด และเมื่อในปี 2476 รัฐบาลไทยได้เรียกให้ปรีดีกลับมาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีอีกครั้ง

ปัญหาของราษฎรเรื่องการยึดแย่งที่ดินและกรณีบริษัทขุดคลองแลคูนาสยามสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ปัญหาการยึดแย่งที่ดินจากชาวนา การเอารัดเอาเปรียบจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกับรัฐ และความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นในสังคมสยาม เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้นายปรีดี พนมยงค์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม นำไปสู่การอภิวัฒน์ในปี 2475

ระลึกถึงพี่แร่ม ผู้มีส่วนร่วมในการเรียกร้องสิทธิสตรีไทย

คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร ระลึกถึงคุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ ผู้เป็นต้นแบบและมีบทบาทสำคัญในการเรียกร้องสิทธิสตรีไทย จนประสบความสำเร็จในการแก้ไขกฎหมายที่เปิดโอกาสให้สตรีไทยเจริญก้าวหน้าในสังคมเทียบเท่าผู้ชาย

เรียนรู้อะไรจาก “ปฏิวัติสยาม ๒๔๗๕”

การเสวนาในวาระ 100 ปีชาตกาลของนายปรีดี พนมยงค์ เสน่ห์ จามริก ได้กล่าวถึงการอภิวัฒน์สยาม 2475 แสดงความสำคัญของหลักการเหนือตัวบุคคล การผนึกกำลังข้ามกลุ่ม ใช้ "หลักการปลดปล่อยสู่อิสระ" พัฒนาการเมือง เป็นจุดเริ่มต้นสิทธิเสรีภาพ อีกทั้งหลักการของคณะราษฎรที่ยังคงคุณค่าต่อการพัฒนาประเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่างปรีดี-พูนศุข พนมยงค์ กับ ม.ร.ว. พันธุ์ทิพย์ บริพัตร

จดหมายฉบับนี้แสดงความพยายามของนายปรีดี พนมยงค์และท่านผู้หญิงพูนศุข ในการยกย่องบทบาทอันสำคัญของสมเด็จกรมพระยาเทววงศ์วโรปการและกรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย ในการแก้ไขสนธิสัญญาช่วยให้ไทยได้รับเอกราช เสมอภาคกับนานาชาติ มีการส่งมอบหนังสือเพื่อสร้างความตระหนักในคุณูปการของท่านให้แก่คนรุ่นหลัง

มูลเหตุแห่งการอภิวัฒน์ ตอนที่ 2 : เศรษฐกิจภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช

ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชไทย เศรษฐกิจเป็นแบบดั้งเดิม ราษฎรส่วนใหญ่ยากจน ขาดความรู้ธุรกิจ ทุนกับการค้าตกอยู่ต่างชาติ รัฐไม่ส่งเสริมอุตสาหกรรมแต่เน้นเก็บภาษี ส่งผลกระจายรายได้ไม่เป็นธรรมและพัฒนาเศรษฐกิจล่าช้า

บันทึกความสัมพันธ์ของครูฉลบชลัยย์ ปรีดี พูนศุข ในจีนถึงปารีส

ความสัมพันธ์ของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร กับท่านปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุขเป็นความสัมพันธ์ที่อบอุ่นและเต็มไปด้วยความรัก เป็นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งและมีอิทธิพลต่อชีวิตในชีวิตครูฉลบชลัยย์

มูลเหตุแห่งการณ์อภิวัฒน์ ตอนที่ 1 วิวัฒนาการแห่งการเมืองและการเศรษฐกิจ

การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 โดยเหล่าผู้ก่อการที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” ได้เริ่มต้นจากแนวคิดของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดเห็นด้วยกับนายปรีดี พนมยงค์ จึงเกิดการดำเนินการชักชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมขบวนการ

รำลึก ครูองุ่น มาลิก ดอกไม้กลางใจชน

การรำลึกชีวประวัติบนความทรงของอาจารย์ธเนศ อาภรณ์สุวรรณที่ได้ประสบพบเจอกับครูองุ่น มาลิก ในช่วงเวลาหนึ่งของชีวิต พบว่าครูองุ่นได้เสียสละอุทิศตนเพื่อสร้างประโยชน์สู่สังคมตลอดมาจวบจนช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิต
Subscribe to